วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

การผลิตโทรศัพท์

โทรศัพท์มือถือจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สำหรับความหมายอื่น ดูที่ โทรศัพท์มือถือในประเทศไทย

ตัวอย่างของโทรศัพท์มือถือโทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (และมีการเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน

โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส

โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงในปี พ.ศ. 2516 โดย มาร์ติน คูเปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลา เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม[1] ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 ที่มีจำนวน 12.4 ล้านคน[2] มาเป็น 4,600 ล้านคน[3]

เนื้อหา [ซ่อน]
1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ
2 ระบบปฏิบัติการมือถือ
3 สถิติ
3.1 ผู้ผลิตมือถือ
3.2 ระบบปฏิบัติการมือถือ
4 ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ
5 ดูเพิ่ม
6 อ้างอิง

[แก้] วิวัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ1G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ analog ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น NMT, AMPS, DataTac
2G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GSM, cdmaOne, PDC
2.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่เริ่มนำระบบ packet switching มาใช้ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GPRS
2.75G ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น CDMA2000 1xRTT, EDGE
3G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่มีความสามารถครบทั้งการสื่อสารด้วยเสียงและข้อมูลรวมถึงวีดิโอ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น W-CDMA, TD-SCDMA, CDMA2000 1x-EVDO
3.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้นกว่า 3G เช่น HSDPA ใน W-CDMA
4G ระบบโทรศัพท์มือถือที่กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาและทดสอบ เชื่อกันว่าโทรศัพท์มือถือในยุคนี้จะสามารถสนับสนุน แอปพลิเคชันที่ต้องการแบนด์วิธสูงเช่น ความจริงเสมือน 3 มิติ (3D virtual reality) หรือ ระบบวิดีโอที่โต้ตอบได้ (interactive video) เป็นต้น[4]
[แก้] ระบบปฏิบัติการมือถือซิมเบียน ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในค่ายโนเกีย
วินโดวส์โมบาย จะใช้กับโทรศัพท์มือถือที่เป็น PDA (Personal digital assistants)
ไอโฟน โอเอส ใช้เฉพาะใน ไอโฟน และ ไอพอดทัช
BlackBerry OS
แอนดรอยด์
[แก้] สถิติ[แก้] ผู้ผลิตมือถือที่มา สถิติเมื่อ โนเกีย ซัมซุง แอลจี RIM โซนี่ อิริคสัน อื่นๆ อ้างอิง
IDC ไตรมาสที่ 1 ปี 2553 36.6% 21.8% 9.2% 3.6% 3.6% 25.3% [5]
Gartner ไตรมาสที่ 1 ปี 2553 35.0% 20.6% 8.6% 3.4% 3.1% 29.3% [6]
[แก้] ระบบปฏิบัติการมือถือที่มา สถิติเมื่อ ซิมเบียน BlackBerry OS แอนดรอยด์ iOS วินโดวส์ โมบาย อื่นๆ รวม อ้างอิง
IDC ไตรมาสที่ 1 ปี 2553 40.1% 17.9% 16.3% 14.7% 6.8% 4.2% 100% [7]
IDC คาดคะเนปี 2557 32.9% 17.3% 24.6% 10.9% 9.8% 4.5% 100% [8]




[แก้] ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือแคนาดา
Research In Motion (ผู้ผลิต แบล็กเบอร์รี)
Sierra Wireless
mobiado
จีน
อัลคาเทล (Alcatel)
Amoi Mobile Phones
Amoisonic
BBK
Capitel
Cect
Cosun
Club
Eastcom
Haier
Huawei
Kejian
Konka
Legend mobile phones
Lenovo
Meizu
Ningbo Bird
ZTE
ฟินแลนด์
โนเกีย (Nokia)
ฝรั่งเศส
ซาเจม (SAGEM)
อินเดีย
Micromax
Spice
Videocon
Onida
!Next
Intex
C-Tel
Sigmatel
Usha Lexus
Lemon mobile
zen mobile
Maxx mobile
Karbonn mobile
LAVA mobile
อิสราเอล
Modu
Emblaze
IXI Mobile
อิตาลี
Brionvega
Onda
Telit
ญี่ปุ่น
Fujitsu / Toshiba
Kyocera Wireless
Mitsubishi Electric
NEC / Casio / Hitachi
พานาโซนิค (Panasonic)
ซันโย (Sanyo)
ชาร์ป (Sharp)
มาเลเซีย
M.Mobile
dallab
เนเธอร์แลนด์
ฟิลิปส์ (Philips)
รัสเซีย
sitronics
Voxtel
เกาหลีใต้
Bellwave
Innostream
แอลจี (LG)
Pantech Curitel
ซัมซุง (Samsung)
KTF Ever
สวีเดน
โซนี่ อิริคสัน (Sony Ericsson)
สวิสเซอร์แลนด์
Goldvish
Gresso
TAG Heuer
ไต้หวัน
เอเซอร์ (Acer)
Asus
เบนคิว (BenQ)
DBTel
E-TEN
เอชทีซี (HTC)
OKWAP
เยอรมนี
ซีเมนส์ (Siemens)
ไทย
GNET
ไอโมบาย (i-mobile)
jfone
Wellcom
โฟนวัน
ทีดับบลิวแซด
แฟมิลี่
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
i-mate
Thuraya
สหราชอาณาจักร
เซนโด (Sendo)
Vertu
สหรัฐอเมริกา
แอปเปิล (Apple)
เดลล์ (Dell)
Garmin
Google
Hewlett-Packard
โมโตโรลา (Motorola)

Palm http://www.google.co.th/
Sonim
เวเนซูเอลา
Vetelca

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น